บทความ

ลำดับฟีโบนัชชี ”รหัสลับแห่งจักรวาล” ที่ปรากฏตามธรรมชาติ งานศิลปะระดับโลก จนไปถึงการใช้ทำนายราคาหุ้นในอนาคต  ย้อนไปในราวปี ค.ศ. 1200 เลโอนาร์โด ฟีโบนัชชี นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลี ที่ในสมัยเด็กเป็นลูกพ่อค้า จึงจำเป็นต้องเดินทางไปค้าขายกับพ่ออยู่บ่อย ๆ ระหว่างการเดินทางก็ได้มีโอกาสศึกษาความรู้ในการคำนวณจากอาจารย์มากมายในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

image of ลำดับฟีโบนัชชี ”รหัสลับแห่งจักรวาล”

โดย Aat Sukavaj

28 มกราคม 2566

image of ลำดับฟีโบนัชชี ”รหัสลับแห่งจักรวาล”

ค่าพาย (π) ค่าคงที่ที่เหล่านักคณิตศาสตร์ทั่วโลกช่วยกันหาคำตอบมาเกือบ 4,000ปี แต่ก็ยังไขความลับได้เพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น เรื่องราวของค่าพาย คงต้องเริ่มจากรูปวงกลม รูปทางเรขาคณิตแบบ 2 มิติ ที่ความสมมาตรมากที่สุดในจักรวาล ซึ่งเป็นรูปทรงเดียวที่เมื่อเราพับครึ่งจากด้านไหนก็ตาม มันก็จะประกบกันพอดีเสมอ 

image of พาย (π) ตัวเลขมหัศจรรย์ ที่หาคำตอบมาเกือบ 4,000 ปี

โดย Aat Sukavaj

20 มกราคม 2566

image of พาย (π) ตัวเลขมหัศจรรย์ ที่หาคำตอบมาเกือบ 4,000 ปี

สะพานที่มีสายเคเบิล เช่น สะพานพระราม 9, สะพานภูมิพล สะพานเหล่านี้มีสายเคเบิลไว้ทำไม เเละถ้าไม่มีใช้แบบอื่นแทนได้หรือไม่ถ้าสังเกตุดีๆ สะพานที่มีเคเบิลจะมีความยาวระหว่างเสาหรือตอม่อที่มากกว่าสะพานทั่วไป เช่น สะพานพระราม 9 มีความยาวระหว่างเสาเป็น 450 เมตร แต่สะพานกรุงเทพยาวสุดเพียง 64 เมตร ฉะนั้นสายเคเบิลก็เอาไว้เพื่อช่วยรับแรงแทนเสา ทำให้ความยาวระหว่างเสาสะพาน ยาวได้มากขึ้น

image of สายเคเบิลบนสะพาน มีไว้ทำไม?

โดย Euw Chaivanon

7 มกราคม 2566

image of สายเคเบิลบนสะพาน มีไว้ทำไม?

สมการนาเวียร์-สโตกส์ สุดยอดสมการแห่งวงการกลศาสตร์ของไหล ใครสามารถแก้ได้ รับเงินรางวัล 35 ล้านไปเลยถ้าพูดถึงสมการที่ใช้อธิบายการไหล หลายๆคนคงคิดถึงสมการแบร์นูลลีใช่ไหมครับ แต่สมการแบร์นูลลีมีเงื่อนไขในการใช้งานที่จำกัดมากโดยเฉพาะเงื่อนไขที่บอกว่า “ไม่คิดแรงเสียดทานเนื่องจากความหนืดของของไหล” ทำให้ในหลายสถานการณ์สมการนี้จึงมีความคาดเคลื่อนจากการคำนวณที่สูง

image of สมการนาเวียร์-สโตกส์

โดย Aat Sukavaj

17 ธันวาคม 2565

image of สมการนาเวียร์-สโตกส์

ในบรรดาความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์มากมายนับไม่ถ้วน อยากรู้กันมั้ยว่าสมการใดที่ได้ชื่อว่า “สวยงามที่สุดในโลก” และใครกันนะเป็นคนคิดในปี ค.ศ. 1748 หรือสมัยกรุงศรีอยุธยาของบ้านเรา เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ อัจฉริยะทางคณิตศาสตร์ที่มีผลงานเยอะที่สุดคนหนึ่งในโลก ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นโบว์แดงของในชื่อว่า Introduction to the Analysis of the Infinite โดยผลงานชิ้นนี้มีทั้งหมด 22 บท ซึ่งเป็นรากฐานของศาสตร์ที่ชื่อว่าคณิตวิเคราะห์ ที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์หลายแขนงโดยเฉพาะแคลคูลัสที่เด็กวิศวะอย่างเราต้องเรียนกัน

image of สมการที่ “สวยงามที่สุด”

โดย Aat Sukavaj

3 ธันวาคม 2565

image of สมการที่ “สวยงามที่สุด”

A Beautiful Mind (2001) เป็นเรื่องจริงของ จอห์น แนช นักคณิตศาสตร์เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ย้อนกลับไปสมัยเขาเริ่มเรียนปริญญาโทที่มหาลัยพรินซ์ตัน ที่ทำให้เขาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ และได้ทดลองปฏิบัติในวิชาแห่งความรักก่อนทุกอย่างจะพลิกผันเมื่อแนชค้นพบว่าเขาเจ็บป่วยด้วยอาการจิตเภทหวาดระแวง ซึ่งก่อให้เกิดภาพหลอนที่ส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงาน ความสัมพันธ์อย่างหนัก ถูกคนครหาว่าผิดปกติ และต้องต่อสู้กับอาการนั้นโดยมีเพื่อนๆ และ อลิเซีย แนช ภรรยาที่รักเขาสุดหัวใจคอยเคียงข้าง

image of แนะนำหนังดีของเด็กวิศวะ A Beautiful Mind (2001)

โดย Aat Sukavaj

28 สิงหาคม 2565

image of แนะนำหนังดีของเด็กวิศวะ A Beautiful Mind (2001)

ย้อนเวลากลับไปในยุคกรีกโบราณ นักปรัชญาที่มีชื่อเสียงอย่างอริสโตเติล มีความเชื่อว่าการเคลื่อนที่ของวัตถุแต่ละชิ้นขึ้นอยู่กับการผสมของธาตุ 4 (ดิน น้ำ ลม ไฟ) ในวัตถุนั้น และ “แรง” เป็นสิ่งที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ ยิ่งออกแรงมากวัตถุก็จะเคลื่อนที่ได้เร็วมากขึ้น หรือถ้าปล่อยของที่หนักไม่เท่ากันลงมาตามแนวดิ่ง ของหนักๆ จะตกลงมาเร็วกว่าของที่เบา นอกจากนี้เขายังคิดต่อไปว่าแรงต้านการเคลื่อนที่น่าจะส่งผลต่อการเคลื่อนที่ด้วย เช่น การเดินอยู่ในน้ำจะทำได้ยากกว่าในอากาศ แสดงว่าความเร็วของวัตถุน่าจะแปรผกผันกับแรงต้านอริสโตเติลยังเชื่อว่าการเคลื่อนที่ของวัตถุตามธรรมชาติมีความแตกต่างกัน เช่น ก้อนหินบนโลกอาจจะเคลื่อนที่ขึ้นหรือลง มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด แต่ดวงดาวที่อยู่นอกโลกเคลื่อนที่เป็นวงกลม วนไปวนมา ถ้าเป็นอย่างนี้การเคลื่อนที่ของวัตถุบนโลกกับดวงดาวนอกโลกก็ควรจะใช้กฎเกณฑ์ที่ไม่เหมือนกัน การเคลื่อนที่แบบนี้เป็นไปโดยธรรมชาติ (natural motion) แต่มีการเคลื่อนที่บางแบบเป็นไปโดยฝืนธรรมชาติ (violent motion) ซึ่งก็คือการเคลื่อนที่ที่อาศัยแรงดึง แรงผลักจากภายนอกเข้าไปกระทำ วัตถุไม่ได้เคลื่อนที่ไปด้วยตัวมันเองตามธรรมชาติ

image of ก่อนจะมาเป็นกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน

โดย Max Phunsakorn

26 สิงหาคม 2565

image of ก่อนจะมาเป็นกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน

หาพื้นที่ใต้กราฟหรอ? ก็อินทิเกรตสิ แต่กว่าจะได้มาเป็นสมการ กว่าจะรู้มันเท่ากับอินทิเกรต มนุษย์เราใช้เวลาศึกษากว่า 2,000 ปีย้อนไป 200-400 ปีก่อนคริสตกาล นักคณิตศาสตร์ยุคกรีก เริ่มสร้างสูตรหาพื้นที่ง่ายๆ เช่น รูปสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม ออกมาได้ แต่ถ้าเป็นพื้นที่ของรูปที่ซับซ้อนก็ยังไม่มีสูตรตายตัวที่ใช้หาได้

image of รู้ได้ไง พื้นที่ใต้กราฟ ต้องเท่ากับ อินทิเกรต

โดย Aat Sukavaj

23 กรกฎาคม 2565

image of รู้ได้ไง พื้นที่ใต้กราฟ ต้องเท่ากับ อินทิเกรต

The Man Who Knew Infinity เรื่องราวของ ศรีนิวาสะ รามานุจัน เด็กชายยากจนจากเมือเล็กๆทางใต้ของประเทศอินเดียด้วยความสนใจในตัวเลข เขาจึงเริ่มศึกษาวิชาคณิตด้วยตัวเอง ตอนอายุ 10 ขวบ เขาสามารถท่องตรีโกณได้ทั้งเล่ม ตอนอายุ 12 เขาสร้างทฤษฎีคณิตของตัวเอง เเละเมื่ออายุ 20 รามานุจัน ถูกไล่ออกเพราะไม่มีเงินจ่ายค่าเรียน

image of The Man Who Knew Infinity - อัจฉริยะโลกไม่รัก (2015)

โดย Aat Sukavaj

21 กรกฎาคม 2565

image of The Man Who Knew Infinity - อัจฉริยะโลกไม่รัก (2015)

เครื่องยนต์ในรถ เครื่องปรับอากาศ หรือโรงงานไฟฟ้า พวกนี้ใช้หลักการพื้นฐานของวิชาเทอร์โมไดนามิกส์ทั้งนั้นกว่าจะมาเป็นวิชานี้ไม่ไช่เรื่องง่าย นักวิทยาศาสตร์หลายคนต้องฝ่าฟัน ทำการศึกษา ทดลอง วิจัย ตีพิมพ์เอกสาร และหนังสือจำนวนมาก จนสรุปออกมาเป็นวิชาที่เราเรียนกัน โพสต์นี้เราจะเล่าถึงประวัติความเป็นมาของวิชาเทอร์โมไดนามิกส์นี้กันครับ

image of ประวัติย่อ Thermodynamics กำเนิดวิชาเทอร์โมไดนามิกส์

โดย Navapon Pittayaporn

16 กรกฎาคม 2565

image of ประวัติย่อ Thermodynamics กำเนิดวิชาเทอร์โมไดนามิกส์